
Week
|
Input
|
Process (PBL)
|
Output
|
Outcome
|
6
6
|
โจทย์ : ประวัติป่าโคกหีบ
Key
Questions :
- นักเรียนจะทำอย่างไรให้คนในชุมชนรู้และตระหนักถึงความสำคัญของป่าโคกหีบ
เครื่องมือคิด :
Round
Robin : พูดคุยแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับทำอย่างไรให้คนในชุมชนรู้และตระหนักถึงความสำคัญของป่าโคกหีบ
Show
and Share : นำเสนอชิ้นงานstory board
Mind
Mapping : สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
-
ครู
-
นักเรียน
-
ผู้ปกครอง / ผู้นำชุมชน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ป่าโคกหีบ
-
ห้องสมุด
-
บรรยากาศในห้องเรียน
- อินเตอร์เน็ต
|
ชง
- ดูคลิปวีดีโอ ถอดบทเรียน (ห้วยพ่าน)
ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “
-
นักเรียนได้เรียนรู้อะไรจากคลิปวีดีโอนี้
-
นักเรียนจะนำความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในการวางแผนการทำ สารคดี ได้อย่างไร
- นักเรียนจะทำอย่างไรให้คนในชุมชนรู้และตระหนักถึงความสำคัญของป่าโคกหีบ
เชื่อม
- ครู
นักเรียนแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับการทำข้อมูลสารคดี
- นักเรียนแบ่งกลุ่ม 3 คน
- นักเรียนวางแผนกันวางฉาก บท
ตัวละคร
ใช้
- เขียน story board สารคดีป่าโคกหีบ
- นำเสนอ
story board
วันอังคาร 3 ชั่วโมง
ชง
- “ครูกระตุ้นความคิด “ นักเรียนจะมีวิธีการอย่างไรในการถ่ายสาiคดี ”
เชื่อม
- ครูนักเรียนแลกเปลี่ยนการเข้าไปถ่ายทำในป่าโคกหีบ
- นักเรียนเดินสำรวจสถานที่ๆเหมาะกับการที่จะถ่ายสารคดี
ใช้
- คลิปวีดีโอแต่ละฉาก
- สรุปการความงอกงาม ปัญหา
อุปสรรคในการถ่ายสารคดี
วันพฤหัสบดี 1 ชั่วโมง
ชง
ครูกระตุ้นความคิด “นักเรียนจะใช้คำถามอย่างไรในการถามผู้นำชุมชน
ชาวบ้าน ในการทำสารคดี”
เชื่อม
-
ครู นักเรียนแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับคำถามที่เป็นประโยชน์ในการทำสารคดี
- นักเรียนเดินไปป่าโคกหีบพร้อมกับวางแผนร่วมกันในการถ่ายสารคดีร่วมกับผู้นำชุมชน
ชาวบ้าน
ใช้
สรุปสิ่งที่ต้องทำต่อในวันพรุ่งนี้
ฉากที่ยังถ่ายไม่เสร็จ
วันศุกร์ 2 ชั่วโมง
ชง
ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “นักเรียนจะตัดต่อวีดีโออย่างไรให้มีความสนใจและดูแล้วเข้าใจง่าย”
เชื่อม
ครู นักเรียนแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับการตัดต่อวีดีโอให้มีความสนใจ
และคนอื่นดูแล้วเข้าใจง่าย
ใช้
- นำเสนอวีดีโอสารคดีป่าโคกหีบ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 5
|
ภาระงาน
-
คลิปวีดีโอถอดบทเรียน
(ห้วยพ่าน)
- วางแผนการทำ
story board
- เตรียมอุปกรณ์ในการถ่ายสารคดีที่ป่าโคกหีบ
-
นำเสนอชิ้นงาน story board
ชิ้นงาน
- story board สารคดีป่าโคกหีบ
-
วีดีโอ สารคดีป่าโคกหีบ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจประวัติป่าโคกหีบ
สามารถทำให้คนในชุมชนรู้และตระหนักถึงความสำคัญของป่าโคกหีบ
ทักษะ
:
ทักษะชีวิต
- การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรในป่าอย่างคุ้มค่าในอดีต
-
การทำงานร่วมกับคนอื่น
ทักษะการสื่อสาร
-
แสดงความคิดเห็นและการนำเสนอผลงานจากเรื่องราวที่ศึกษาค้นคว้าและชิ้นงานที่ลงมือปฏิบัติ
-
นำชิ้นงานเสนอ สารคดีป่าโคกหีบ
ทักษะการจัดการข้อมูล
คิดวิเคราะห์
สังเคราะห์ข้อมูลนำเสนอผ่าน story board และสารคดี
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ออกแบบ
และการสร้างสรรค์สารคดีในรูปแบบแง่มุมใหม่ได้
ทักษะ ICT
การใช้
ICTในการถ่ายวีดีโอ ตัดต่อวีดีโอ และค้นคว้าข้อมูล
ทักษะ การแก้ปัญหา
คิดวิเคราะห์และแก้ปัญหากระบวนการทำงานกลุ่ม
คุณลักษณะ
- รักการเรียนรู้
- มีความพยายาม อดทนในการทำให้สำเร็จ
- ส่งงานตรงต่อเวลา
- กล้าพูด กล้าแสดงความคิดเห็นใน
ประเด็นที่สงสัย
|
ตัวอย่างกิจกรรม
สรุป week 5
ตอบลบในสัปดาห์ที่ 5 พี่ๆป.6ได้เรียนรู้เกี่ยวกับทฤษฎีชาล์ล ดาวิน ที่ได้กล่าวเกี่ยวกับความอยู่รอดของสรรพสิ่งต่างๆ ในวันแรกได้ศึกษาเกี่ยวพืชที่อยู่ในร่มและพืชที่อยู่ในที่โล่งบันทึกสิ่งที่ไดเรียนรู้ จากนั้นนำมาแลกเปลี่ยน เช่นพี่โจ พืชที่ร่มมีใบสีเขียวเข้ม พี่ออม พืชในที่ร่มส่วนมากเป็นไม้ประดับ พี่แพรวพืชในที่ร่มต้องการแสงน้อย พี่แดงพืชในที่โล้งแจ้งมีใบสีเขียวอ่อน พี่แช๊คพืชในที่โล่งแจ้งส่วนใหญ่เป็นพืชยืนต้นมีขนาดใหญ่ต้องการแสงมากเป็นพืชชนิดไม้เนื้อแข็ง พี่ๆ ป.6ได้ปะทะกับสิ่งที่อยากเรียนเรียนรู้กับสิ่งที่อยู่ใกล้ตัว จากนั้นสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ พี่ๆ ป.6 ได้เขียนบทความเกี่ยวกับความแตกต่างของ พืชในร่ม และพืชในที่โล่งเขียนร่างให้ครูฟ้า ครูกิ่งดูครูยุ้ยดูจากนั้นก็เขียนแผ่นจริง วันต่อมาพี่ๆ ป.6ได้เรียนรู้กับครูนฤมล และครูอ้นที่มาความรู้เกี่ยวกับป่าต้นไม้ ในป่า ยาสมุนไพร เช่น พี่แจ็บรู้ว่าธาตุเหล็กสามารถทำเป็นยาได้ พี่แบงค์รู้ว่าบักเหลี่ยมเป็นยาแก่เจ็บคอกินแล้วทำให้ชุ่มคอมีรสชาติ หวาน ฟาด ข่ม พี่แช็ครู้ว่าวาฬห่างจระเข้สามารถรักษาแผลสดได้ พี่ได้แลกเปลี่ยนกัน ทุกคน จากนั้นสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากครูอ้นกับครูนฤมล วันต่อมาพี่ๆ ป.6ได้ศึกษาเกี่ยวกับทฤษฎีชาล์ล ดาวิน จากนั้นพี่แลกเปลี่ยนและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากทฤษฎีชาล์ล ดาวิน เป็นความเข้าใจของตัวเอง วันสุดท้ายพี่ๆป.6 ได้แลกเปลี่ยนและสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์พี่ๆป.6ได้เรียนรู้อย่างสนุกสนาน